สื่อการเรียนรู้ออนไลน์

วันเสาร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

งานกลุ่ม ชื่อ คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศ





































เขียนโดย Unknown ที่ 22:04 ไม่มีความคิดเห็น:
ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปยัง Xแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest
บทความที่ใหม่กว่า บทความที่เก่ากว่า หน้าแรก
สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)

คลังบทความของบล็อก

  • ▼  2013 (1)
    • ▼  กุมภาพันธ์ (1)
      • งานกลุ่ม ชื่อ คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศ
  • ►  2012 (1)
    • ►  พฤศจิกายน (1)

เกี่ยวกับฉัน

Unknown
ดูโปรไฟล์ทั้งหมดของฉัน

งานครั้งที่5

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึงการกระทำผิดทางอาญาในระบบคอมพิวเตอร์ หรือการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อกระทำผิดทางอาญา เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูลต่าง ๆ เป็นต้น ระบบคอมพิวเตอร์ในที่นี้หมายรวมถึงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เชื่อมกับระบบดังกล่าวด้วย

Hacker (แฮ๊คเกอร์) เป็นคำที่ใช้กับบางคนที่หมายถึง “โปรแกรมเมอร์ชาญฉลาด” และโดยคนอื่น โดยเฉพาะคนในสื่อยอดนิยม หมายความว่า “บางคน ผู้พยายามเจาะระบบคอมพิวเตอร์”

Cracker คือบุคคลที่บุกรุกหรือรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล ด้วยเจตนาร้าย cracker เมื่อบุกรุกเข้าสู่ระบบ จะทำลายข้อมูลที่สำคัญ
ทำให้ผู้ใช้ไม่สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ หรืออย่าง น้อยทำให้เกิดปัญหาในระบบคอมพิวเตอร์ของเป้าหมาย โดยกระทำของ cracker
มีเจตนามุ่งร้ายเป็นสำคัญ คำจำกัดความเหล่านี้ถูกต้องและอาจใช้โดยทั่วไปได้

Spam (สแปม) คือ การส่งข้อความถึงผู้ที่ไม่ต้องการรับ ก่อให้เกิดความรำคาญ ละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัว และผิดกฏหมาย ลักษณะของสแปม คือ ไม่ปรากฏชื่อผู้ส่ง (Anonymous) ส่งโดยไม่เลือกเจาะจง (Indiscriminate) และ ส่งได้ทั่วโลก (Global) การ SPAM มีทั้ง การสแปมเมล์ (Spam Mail) และ การสแปมบอร์ด ( Spam Board )

ม้าโทรจัน (อังกฤษ: Trojan horse) หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกบรรจุเข้าไปในคอมพิวเตอร์ เพื่อลอบเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น เช่น ข้อมูลชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน เลขที่บัญชีธนาคาร หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนบุคคลอื่น ๆ โดยส่วนใหญ่แฮกเกอร์จะส่งโปรแกรมเข้าไปในคอมพิวเตอร์เพื่อดักจับข้อมูลดังกล่าว แล้วนำไปใช้ในการเจาะระบบ และเพื่อโจมตีคอมพิวเตอร์, เซิร์ฟเวอร์, หรือระบบเครือข่ายอีกที ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อการโจมตีเพื่อ "ปฏิเสธการให้บริการ" (Denial of Services)

Spyware เป็นโปรแกรมที่แฝงมาขณะเล่นอินเตอร์เน็ตโดยจะทำการติดตั้งลงไปในเครื่องของ เรา และจะทำการเก็บพฤติกรรมการใช้งานอินเตอร์เน็ตของเรา รวมถึงข้อมูลส่วนตัวหลาย ๆ อย่างได้แก่ ชื่อ - นามสกุล , ที่อยู่ , E-Mail Address และอื่น ๆ

1.กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมอินเทอร์เน็ต

2.กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

3. กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์

4.กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

5.กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

การกระทำผิดและบทลงโทษ

มาตรา ๕ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน

บทลงโทษ ปรับ 10,000 จำคุก 6 เดือน

มาตรา ๖ ผู้ใดล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทําขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านํามาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น

บทลงโทษ ปรับ 20,000 จำคุก 1 ปี

มาตรา ๗ ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิได้มีไว้สําหรับตน

บทลงโทษ ปรับ 40,000 จำคุก 2 ปี

มาตรา ๙ ผู้ใดทําให้เสียหาย ทําลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ

บทลงโทษ ปรับ 100,000 จำคุก 5 ปี

มาตรา ๑๐ ผู้ใดกระทําด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปกติได้

บทลงโทษ ปรับ 100,000 จำคุก 5 ปี

งานครั้งที่4

ข้อดี- ราคาถูก
-
เสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งน้อย
-
ใช้อย่างกว้างขวางในระบบโทรศัพท์
ข้อเสีย- อัตราเร็วในการส่งข้อมูลจะน้อยกว่าสายสัญญาณแบบอื่น
-
มีข้อจำกัดเรื่องความยาวของสายสัญญาณ

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารหรือ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ( MIS ) หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลและการสร้างสารสนเทศขึ้นมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจ การประสานงานและการควบคุม นอกจากนั้นยังช่วยผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ในการวิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหาและสร้างผลิตภัณฑ์หรือผลงานใหม่โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ( Hardware ) และโปรแกรม ( Software ) รวมทั้งผู้ใช้ (Peopleware) เพื่อก่อให้เกิดความสำเร็จในการได้มาซึ่งสารสนเทศที่มีประโยชน์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารเป็นระบบซึ่งรวมความสามารถของผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศเพื่อการดำเนินงาน การจัดการและการตัดสินใจในองค์กร
เนื้อหาและการจัดโครงสร้างสารสนเทศ
เนื้อหาของการจัดการสารสนเทศครอบคลุมถึงเรื่องต่อไปนี้
1.
ศาสตร์และศิลป์ในการจัดการและการตัดสินใจ
2.
จิตวิทยาและพฤติกรรมการแสดงออกซึ่งจะเป็นตัวกำหนดถึงความสำเร็จหรือล้มเหลวของระบบสารสนเทศ
3.
สภาพแวดล้อม ( Environment ) และการผลักดันทางเทคโนโลยีเพื่อก่อให้เกิดโอกาสในการใช้ข้อมูลเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
4.
วิธีการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ ( Decision Support System )

ระบบ Bus การเชื่อมต่อแบบบัสจะมีสายหลัก 1 เส้น เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอ็นต์ทุกเครื่องจะต้องเชื่อมต่อสายเคเบิ้ลหลักเส้นนี้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกมองเป็น Node เมื่อเครื่องไคลเอ็นต์เครื่องที่หนึ่ง (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง (Node C) จะต้องส่งข้อมูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบัสสายเคเบิ้ลนี้ เมื่อเครื่องที่ Node C ได้รับข้อมูลแล้วจะนำข้อมูล ไปทำงานต่อทันที

อินเทอร์เน็ตสามารถให้ผู้เรียนติดต่อสื่อสารกับผู้คนทั่วโลกได้อย่างรวดเร็ว

และสามารถสืบค้นหรือเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศจากทั่วโลก จึงทำให้เกิดการเรียนรู้ตามอัธยาศัยการประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตกับกิจกรรมตามหลักสูตรเดิมที่มีอยู่ ทำให้ผู้เรียนเกิด ทักษะในด้านการคิดอย่างมีระบบ (High - Order Thinking Skills) การคิดเชิงวิเคราะห์ (Critical Thinking) การวิเคราะห์สืบค้น (Inquiry - Based Analytical Skill) การวิเคราะห์ข้อมูล การแก้ปัญหา และการคิดอย่างอิสระเป็นการสนับสนุนกระบวนการสหสาขาวิชาการ (Interdisciplinary) คือ ในการนำ เครือข่ายมาใช้เชื่อมโยงกับกิจกรรมการเรียนการสอนนั้น นักการศึกษาสามารถที่จะบูรณาการการเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เช่นคณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์ สังคม ภาษา วิทยาศาสตร์ ฯลฯ เข้าด้วยกันอินเทอร์เน็ตเมื่อนำมาใช้ในการพัฒนาการศึกษาก็จะทำให้เกิดประโยชน์และสร้าง ความเท่าเทียมกันในด้านการศึกษาให้มากยิ่งขึ้น

งานครั้งที่3

อิเล็กทรอนิคส์ แบ่งได้ 3วิธี

1. ขั้นเตรียมข้อมูล

เป็นการเตรียมข้อมูลเพื่อให้สะดวกต่อการประมวลผล ซึ่งมี 4 วิธี

1.1 การลงรหัส 1.2 การตรวจสอบ 1.3 การจาแนก 1.4 การบันทึกข้อมูลลงสื่อ

2. ขั้นตอนการประมวลผล

คือ เป็นการนาเอาโปรแกรมที่เขียนขึ้น มาใช้เพื่อประมวลผลข้อมูลที่ได้เตรียมไว้และข้อมูลยังคงเก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นวิธีการผลิตสารสนเทศต่างๆ เช่น

2.1 การคำนวณ

2.2 การเรียงลาดับข้อมูล

2.3 การสรุป

2.4 การเปรียบเทียบ

3. ขั้นตอนการแสดงผลลัพธ์

เป็นขั้นตอนการเผยแพร่สารสนเทศให้กับผู้ใช้ในรูปแบบต่างๆ อาจอยู่ในรูปแบบเอกสาร รายงาน การนาเสนอบนจอภาพ โดยการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

2 โครงสร้างข้อมูล

บิต(Bit) หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูล เลขฐาน 2 คือ 0,1

ไบต์(Byte)การนาบิตมารวมกัน เรียกว่า ตัวอักขระ,ตัวอักษร

ฟิลด์(Field)การนาไบต์หลาย ๆ ไปมารวมกัน เรียกว่า เขตข้อมูล

เรคอร์ด (Record) การนาฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มารวมกัน •เรียกว่า ระเบียน

ไฟล์(File) การเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เรียกว่า แฟ้มข้อมูล

ฐานข้อมูล (Database) การนาไฟล์หลาย ๆ ไฟล์มารวมกัน •เรียกว่า ฐานข้อมูล

3.หากนำเอาระบบฐานข้อมูลมาใช้ในหน่วยงานที่นักศึกษาทำงานอยู่ สามารถมีแฟ้มข้อมูลใดบ้าง และระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์ต่อองค์กรอย่างไร

สถานที่ทำงาน Siam Chemical Logistics ตำแหน่ง พนักงานวางแผนการจัดส่ง
ข้อมูลการทำ Summary
ข้อมูลเอกสาร Turkbookning
ข้อมูลพนักงานขับรถ
ข้อมูลการขนส่ง
ประโยชน์ของระบบฐานข้อมูล
1. รู้ข้อมูลของ Summary แต่ละวันได้งานมากขึ้นไม่ต้องเสียเวลาในการหาแต่ Job Invoice สะดวกมากขึ้น
2. เอกสาร Turkbookning ละเอียดมากขึ้นไม่เกิดข้อผิดพลาดเหมือนเราใช้โปรแกรม Excel คีย์ข้อมูลแต่ละ Job และสะดวกมากขึ้น
3. ข้อมูลต่าง ๆ เช่น ข้อมูลพนักงานขับรถ, ข้อมูลการขนส่ง จะถูกแยกไฟล์โดยอัตโนมัตฺโดยที่เราไม่ต้องเสียเวลามาแยกข้อมูลต่าง ๆ เอง

4 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing)

1 รวบรวมข้อมูล และแบ่งแยกข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ แล้วจึงส่งเครื่องคอมพิวเตอร์

2 ทำการประมวลผลครั้งเดียว

3 จะไม่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้งานกับ

เครื่องคอมพิวเตอร์

วิธีการประมวลผลแบบเวลาจริง ( Real Time Processing )

1การประมวลผลที่เมื่อทาการส่งข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์แล้วจะได้ผลลัพธ์ออกมาทันที

2แสดงผลข้อมูลทันทีทันใด โดยแสดงผลทาง Output

3เช่น การใช้บริการบัตรเครดิตตามห้างร้านต่าง ๆ

งานครั้งที่2

1ฮาร์ดแวร์ หมาย ถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกัน

เช่น 1.1 Power Supply

1.2 Mainboard และ ฮาร์ดแวร์ที่ติดตั้งหรือเป็นส่วนหนึ่งของ Mainboard ที่สำคัญ ได้แก่
1.2.1 CPU
1.2.2 RAM
1.2.3 Expansion Slots
1.2.4 Ports

2 Software (ซอฟต์แวร์) เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ที่เราไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้โดยตรง เป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรม (Program) ที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์ให้สามารถเข้าใจกันได้

ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. ซอฟต์แวร์ระบบ

2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์

3 Peopleware หมาย ถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้

1. ผู้จัดการระบบ (System Manager)

คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)

คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน

3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)

คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้

4. ผู้ใช้ (User)

คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ

เนื่อง จากเป็นผู้กำหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสำคัญในอันที่จะทำให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคำสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกำหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น

4.Data คืออะไร

1. ในการคำนวณ ข้อมูล (data) เป็นสารสนเทศ (information) ที่สามารถแปลเป็นรูปแบบที่สะดวกในการเคลื่อนย้าย หรือประมวลผล สัมพัทธ์กับคอมพิวเตอร์ และตัวกลางในการส่งผ่านข้อมูล เป็นสารสนเทศที่แปลงเป็นรูปแบบ binary หรือ ดิจิตอล

2. ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ติดต่อภายในหรือ การสื่อสารผ่านเครือข่าย ข้อมูลมักจะแยกจาก "control information", "control bits" และคำที่คล้ายกันในการชี้หน่วยการส่งเนื้อหาหลัก


3. ในด้านโทรคมนาคม ข้อมูลบางครั้งหมายถึง สารสนเทศ ของรหัสแบบดิจิตอล ที่แยกจากสารสนเทศของรหัสแบบอะนาล็อก เช่น โทรศัพท์แบบดั้งเดิม โดยทั่วไป อะนาล๊อก หรือเสียง ( voice) มีการส่งผ่านที่ต้องการ การติดต่อที่ต่อเนื่อง สำหรับการกำหนดเวลาของชุดการส่งที่สัมพันธ์กัน การส่งผ่านข้อมูล สามารถส่งด้วยการติดต่อแบบเป็นช่วงในรูปของแพ็คเกต

4. โดยทั่วไป และในวิทยาศาสตร์ ข้อมูลหมายถึง ตัวของข้อเท็จจริง
data
ที่มีจากภาษา ลาติน ซึ่ง data เป็นรูปพหูพจน์ของ "datum" โดยการใช้รูปพหูพจน์ "data" แต่การใช้ "datum" พบน้อยมาก และมีการใช้ "data" ในความหมายเอกพจน์

5.สารสนเทศ (Information)

หมาย ถึง ข้อมูลที่ได้ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการที่เหมาะสม และถูกต้อง จนได้ผลลัพธ์ตรงตามความต้องการ อยู่ในรูปแบบที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ และอยู่ในช่วงเวลาที่ต้องการของผู้ใช้
2.
หอพัก

ฮาร์ดแวร์ ใช้คอมพิวเตอร์บันทึกข้อมูลในการเข้าเปิดหอพัก
ซอฟต์แวร์ ใช้โปรแกรม ในการทำบันชีรายรับรายจ่ายของ หอพัก

Peopleware ใช้บุคลากรที่มีความชำนาญในเรื่องคอมพิวเตอร์ทำบันชีการเปิดหอพักทุกวัน

2.ร้านอาหาร
ฮาร์ดแวร์ ใช้คอมพิวเตอร์บันทึกข้อมูลรายรับรายจ่าย ในร้านอาหาร
ซอฟต์แวร์ ใช้โปรแกรม ในการทำบันชีรายรับรายจ่ายของ ในร้านอาหาร






ข้อมูล

ข้อมูล
ข้อมูลสาระสนเทศ

งานครั้งที่ 1

1.เทคโนโลยี (Technology) หมาย ถึง การนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือความรู้ด้านอื่นๆ ที่ได้จัดระเบียบดีแล้วมา ประยุกต์ใช้ในด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อให้งานนั้นมีความสามารถและประสิทธิภาพมากขึ้น

ยกตัวอย่างเช่นการนำเทคโนโลยีมาทำเป็นหุ่นยนต์ช่วยคนจากอุบัติเหตุ

สารสนเทศ (Information)หมาย ถึงข้อมูลที่ผ่านกระบวนการเก็บรวบรวมและเรียบเรียง เพื่อใช้เป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ยกตัวอย่างเช่นการใชแฟลชไดรซ์ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล หรือเขียนลงบนแผ่นซีดี

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information tecnology)หมาย ถึงการนำเทคโนโลยีมาใช้ในงานที่เกี่ยวกับการประมวลข้อมูลเพื่อให้ได้ สารสนเทศ เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อช่วย ในการสื่อสารและการส่งข้อมูลและสานได้สะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่นGmail การส่งข้อมูลกันผ่านทางGmail

ข้อมูล (Data) คือจ้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตูการณ์ ปรากฏการณ์ คนสิ่งของ ที่เราสนใสจเก็บไว้บันทึกใช้งาน ยกตัวอย่างเช่นกล้องบันทึกวิดีโอ เครื่องบันทึกเสียง

ฐานความรู้ (knowledge base) คือสารสนเทศที่ได้จัดเป็นโครงสร้างความรู้ความเข้าใจ ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญและต้องมีคุณค่าเพื่อแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานต่างๆได้

2.ระดับล่างสุด เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผลข้อมูล ซึ่งเรียกว่า ระบบการประมวลผลรายการ

ระดับที่สองเป็นการใช้คอมพิวเตอร์จัดทำสาระสนเทศ เพื่อใช้ในการวางแผนการตัดสินใจ

ระดับที่สาม เป็นการใช้คอมพิวเตอร์จัดทำสาระสนเทศ สำหรับผู้บริหารจัดการระดับกลาง

ระดับที่สี่ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์จัดทำสาระสนเทศ สำหรับผู้บริหารจัดการระดับสูง

3.ยุคการประมวลผลข้อมูล เป็นยุคแรกๆของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์ช่วงนั้น

ระบบสาระสนเทศเพื่อการจัดการ เป็นยุคที่มีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการตัดสินใจ ดำเนินการควบคุมติดตามผล

ระบบจัดการทรัพยากรสารสนเทศ เป็นการเรียกใช้สาระสนเทศเพื่อช่วยในการตัดสินใจการนำองค์หรือหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ

ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจุบันเทคโนโลยีมีความเจริญอย่างรวดเร็ว ทำให้มีทางเลือกและเกิดรูปแบบใหม่ๆ ของสินค้าและบริการ

สมาชิกกลุ่มที่ 5

  • ณัฐสินี โชคชัย
  • ภิรมยา ม่วงนุ
  • วาสิฎฐี โชคชัย

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นางสาวอรวรรณ นามสกุล พาอ่อนตา ชื่อ หลิง
เกิดวัน อังคาร ที่ 24 เดือน กันยายน 2534
จบการศึกษา ปวส. วิทยาลัยเทคนิคระยอง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ปวช. โรงเรียนโปลีเทคนิคระยอง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนเทศบาลวัดลุ่มมหาชัยชุมพล
ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านหนองเข็ง
กีฬาที่สนใจ เปตอง
ปิงปอง
แบตมินตัน
สีที่ชอบม๊ากๆ สีเขียวอ่อน
คติประจำใจ "งานหนักไม่ทำให้คนตาย"
ความสามารถพิเศษ เล่นขลุ่ยได้
วงดนตรีที่ชื่นชอบ วงกามิกาเซ่ RS
นัสัยใจคอ ร่าเริง แจ่มใส พูดเก่งนิดหน่อย ขี้อาย
(หัวเราะทั้งวัน บ้าๆบอๆ)






การเดินทาง ธีม. ขับเคลื่อนโดย Blogger.